หน้าเว็บ

วันอาทิตย์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

สรุปสูตรการคำนวณของสารละลาย

สรุปสูตรการคำนวณของสารละลาย
1. ร้อยละโดยมวลของตัวถูกละลาย สูตรการคำนวณของสารละลาย
2. ร้อยละโดยปริมาตรของตัวถูกละลาย   สูตรการคำนวณของสารละลาย
3. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรของตัวถูกละลาย    สูตรการคำนวณสารละลาย
4. mol/dm3    สูตรการคำนวณสารละลาย
5. mol/kg สูตรการคำนวณสารละลาย  
6. สารละลายที่มีความเข้มข้น C mol/dm3 จำนวน V dm3 จำนวนโมลของตัวถูกละลาย n mol    สูตรการคำนวณสารละลาย
 
7. สารละลายที่มีความเข้มข้น C mol/dm3 จำนวน V dm3 จำนวนโมลของตัวถูกละลาย n mol   สูตรการคำนวณสารละลาย
 
8. การเปลี่ยนหน่วยสารละลายจากหน่วย ร้อยละ ———–> mol/dm3
8.1 ร้อยละโดยมวล ———> mol/dm3  สูตรการคำนวณสารละลาย
C = ความเข้มข้น (mol/dm3) d = ความหนาแน่นของสารละลาย (g/cm3)
X = ความเข้มข้น (% โดยมวล) M = มวลโมเลกุลของตัวถูกละลาย
8.2 ร้อยละโดยปริมาตร ————–> mol/dm3  สูตรการคำนวณสารละลาย
D = ความหนาแน่นของตัวทำละลาย (g/cm3) x = ความเข้มข้นของสารละลาย (% โดยปริมาตร)
8.3 ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร —————> mol/dm3  สูตรการคำนวณสารละลาย
X = ความเข้มข้นของสารละลาย (ร้อยละมวลต่อปริมาตร) 
9. การเตรียมสารละลายเจือจางโดยการเติมน้ำ
โมลของตัวถูกละลายก่อนเติมน้ำ = โมลของตัวถูกละลายหลังเติมน้ำ
สารละลาย C1 mol/dm3 จำนวน V1 cm3 เติมน้ำเป็นสารละลาย C2 mol/dm3 จำนวน V>2 cm3
  สูตรการคำนวณสารละลาย
10. การเตรียมสารละลายโดยการผสมสารละลายชนิดเดียวกันความเข้มข้นต่างกัน แต่ปริมาตรที่ใช้ต่างกัน
 สูตรการคำนวณสารละลาย
C1V1 และ C แทนความเข้มข้นของสารละลายมีหน่วยเป็น mol/dm3
C2V2 และ V แทนปริมาตรของสารละลายมีหน่วยสอดคล้องกัน เช่น cm3 หรือ dm3 เหมือนกัน 

ข้อมูลจาก http://web.ku.ac.th/

วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ความเข้มข้นของสารละลาย


สารละลาย เป็นสารเนื้อเดียวที่มีองค์ประกอบของสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกันในอัตราส่วนที่ไม่คงที่ ประกอบด้วย ตัวทำละลายและตัวละลาย มีทั้ง 3 สถานะ  ดังนี้
1. สารละลายสถานะแก๊ส เช่น อากาศ

2. สารละลายสถานะของเหลว เช่น น้ำเกลือ น้ำเชื่อม ทิงเจอร์ไอโอดีน เป็นต้น

3. สารละลายสถานะของแข็ง เช่น นาก ทองเหลือง ทองสัมฤทธิ์ ฟิวส์ เป็นต้น

เกณฑ์ในการพิจารณาว่าสารใดเป็นตัวทำละลายหรือตัวละลาย

1. ตัวทำละลายและตัวละลายมีสถานะต่างกัน

     เกณฑ์          ตัวทำละลาย   คือ  สารที่มีสถานะเดียวกันกับสารละลาย

                            ตัวละลาย  คือ  สารที่มีสถานะต่างจากสารละลาย

      ตัวอย่าง 
      สารละลายน้ำตาลทราย   ประกอบด้วย    น้ำ    +   น้ำตาลทราย

      มีสถานะ ดังนี้    ( ของเหลว )       ( ของเหลว )       ( ของแข็ง )

   ดังนั้น     ตัวทำละลาย   คือ   น้ำ

                  ตัวละลาย     คือ  น้ำตาลทราย

อ่านเพิ่มเติม...